แรงและการเคลื่อน
แรงและการเคลื่อนที่
กระบวนการอย่างหนึ่งที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหนง
3.แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
การลดแรงเสียดทาน
สามารถทำได้โดยการขัดถูผิววัตถุให้มันเรียบ
ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุหมุนไปรอบจุดหมุน
ดังนั้น ค่าโมเมนต์ของแรง ก็คือผลคูณของแรงกับระยะตั้งฉากจากแนวแรงถึงจุดหมุน
มีหน่วยเป็น นิวตัน-เมตร
1.แรง
แรง หมายถึง
สิ่งที่เข้าไปกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพของวัตถุ
แรงมีหน่วยเป็น นิวตัน ลักษณะของแรงเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทั้งขนาดและทิศทาง
ปริมาณทางฟิสิกส์
มี 2 แบบ
-ปริมาณเวกเตอร์
หมายถึง ปริมาณที่มีทั้งขนาดละทิศทาง เช่น แรง ความเร็ว ความเร่ง
-ปริมาณสเกลาร์
หมายถึง ปริมาณที่มีแต่ขนาด เช่น เวลา พลังงาน ความยาว
2.การเคลื่อนที่
2.1
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนงเส้นตรงโดยมีความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว
เวลา ความเร่ง และระยะทาง แบ่งออกเป็น 2 แบบ
-การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงที่ไปในทิศทางเดียวกัน
เช่นการโยนวัตถุตรงๆ
-การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงแต่มีการเคลื่อนที่กลับทิศด้วย
เช่น การที่รถไปข้างหน้าแล้วรถเกิดการเลี้ยวกลับ
2.1.1
การรคำนวณหาความเร็ว อัตราเร็ว และความเร่ง
ความเร็ว คือ
ระยะทางกระจัดที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยวินาที
มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที หาได้จากสูตร
ความเร็วเฉลี่ย=การกระจัด/เวลา
อัตราเร็ว
คือระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา หาได้จากสูตร
V=s/t
V=อัตราเร็วเฉี่ย
S=ระยะทาง
T=เวลา
ความเร่ง คือ ความเร็วที่เพิ่มขึ้นใน 1 หน่วยเวลา
หาได้จากสูตร
A=v2-v1/t2-t1
*ขนาดของความเร่งเนื่องจกแรงโน้มถ่วงของโลกมีค่าประมาณ
9.8 เมตรต่อวินาที*
-ความหน่วงในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
คือ ความเร่งที่มีทิสทางตรงกันข้ามกับการเคลื่อนที่ จะมีเครื่องหมายลบ
2.2การเคลื่อนที่ในแนวโค้ง
เป็นการเคลื่อนที่ผสมระหว่างการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งและในแนวราบโดยจะมีแรงโน้มถ่วงมาเกียวข้อง
จะมีทิศทางพุ่งเข้าหาศูนย์กลางของโลกเสมอ หาได้จากสูตร
W=mg
W=แรงที่กระทำต่อวัตถุ
M=มวลของวัตถุ
G=แรงโน้มถ่วงของโลก
2.3
การเคลื่อนที่แบบวงกลม
การเคลื่อนของวัตถุเป็นวงกลมรอบจุดศูนย์กลางจะมีแรงเข้าสู่ศูนย์กลางทำให้วัตถุมีการ
หมุนเป็นวงกลม
หมุนเป็นวงกลม
เมื่อออกแรงผลักวัตถุจะสังเกตว่าจะมีแรงตอบโต้กลับมา
แรงที่เราออกแรงไปเรียกว่า แรงกิริยา และ
แรงที่ตอบโต้กลับมาจะเรียกว่าแรงปฏิกิริยา
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ขอที่1.
วัตถุจะรักษาสภาพอยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่อย่างสม่ำเสมอในแนวเดียวกันนอกจากจะมีแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำ
ขอที่2.ขนาดของความเร่งนี้แปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์และแปรผกผันกับมวลของวัตถุ
ข้อที่3.แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาจะมีขนาดเท่ากันเเละทิศทางตรงกันข้ามกัน
4.แรงพยุง
แรงที่ช่วยให้วัตถุลอยในของเหลวโดยมีขนาดข้นอยู่กับความหนาแน่ของของเหลวและปริมาตรของวัตถุ
เมื่อวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำวัตถุจะไม่จม
เมื่อวัตถุมีความหนาแน่นใกล้เคียงกับน้ำวัตุจะลอยอยู่ปริ่มน้ำ เมื่อวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำวัตถุจะจมอยู่ในน้ำ
เมื่อวัตถุอยู่นิ่งในน้ำจะมีแรงลัพธ์เป็นศูนย์
5.แรงเสียดทาน
แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุซึ่งเกิดขึ้นระหว่างผิงสัมผัสของวัตถุเกิดขึ้นทั้งขณะที่เคลื่อนที่และไม่เคลื่อนที่
โดยจะมีทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่
แรงเสียดทานมี
2 ประเภท
-แรงเสียดทานสถิต
เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุในภาวะได้รับแรงกระทำแล้วหยุดนิ่ง
-แรงเสียดทานจลน์
เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุในภาวะได้รับแรงกระทำแล้วเกิดการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
การเพิ่มแรงเสียดทาน
สามารถทำได้โดยการทำลวดลาย
6.โมเมนต์ของแรง
ชนิดของโมเมนต์แบ่งเป็น
2 แบบ
-โมเมนต์ทวนเข็มนาฬิกา
-โมเมนต์ตามเข็มนาฬิกา
Comments
Post a Comment